แฟ้มสะสมผลงานการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
*ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีการแข่งขันกีฬาบุคลากร อาจารย์ให้นักศึกษา ศึกษานอกห้องเรียนและทำงานที่มอบหมาย *
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
- อาจารย์ให้ส่งแผนการสอนที่ได้รับมอบหมายในสัปดาห์ที่แล้ว
- อาจารย์แจกกล่องให้คนละ 1 กล่อง และอาจารย์ได้ใช้คำถาม 2
แบบ ดังนี้
1.
เมื่อเห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร2. เมื่อเห็นกล่องแล้ว อยากให้กล่องเป็นอะไร
- อาจารย์ถามว่า กล่องนำมาใช้ในคณิตศาสตร์ได้อย่างไร
- อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน โดยต่อกล่องเป็นรูปอะไรก็ได้
*งานที่ได้รับมอบหมาย*
- ฝาขวดน้ำ 9 ฝา
- ตัดกระดาษแข็งสีเหลือง ส้ม ชมพู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1, 1.5 และ 2 นิ้ว อย่างละ 3 ชิ้น มาติดใส่ฝาขวด
วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
- อาจารย์ให้กลุ่มที่ 1 ออกมานำเสนองานที่อาจารย์ได้สั่งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเนื้อหาที่จะสอนกับวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้หลัก 12 ข้อ ของ
อาจารย์นิตยา ประพฤติกิจ
- อาจารย์ให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนนำเสนอเนื้อหาในเรื่องที่จะสอนว่าในวันของตัวเอง
กลุ่มที่ 1 เรื่องส้ม
ข้อเสนอแนะของอาจารย์
- ทำไมต้องให้เด็กนับ เพื่อให้เด็กรู้จักการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง
- การให้เด็กนับไม่ควรวางไว้ในตะกร้า ควรวางไว้ให้เด็กเห็นจำนวน
- ขณะที่นับควรพูดให้เด็กเข้าใจ โดยการใช้ภาษา เช่น ส้มหนึ่งลูก เพิ่มอีกหนึ่งลูก
เป็นสองลูก ส้มสองลูก เพิ่มอีกหนึ่งลูกเป็นสามลูก
- และจะสอนเซตได้อย่างไร เช่น ส้มทั้งหมดมีเท่าไร ทำให้เด็กได้รู้เรื่องเศษส่วนในขณะที่สอนครูควรมีคำถามในระหว่างการสอน เช่น เด็กๆ อยากทราบหรือไหมว่าส้มที่ไม่ใช่ส้มเขียวหวานมีส้มอะไรบ้าง ครูก็จะเป็นคนบอกกับเด็กว่ามีส้มอะไรบ้าง และควรมีการทายปัญหา
- การทำตามแบบ เช่น ครูอาจนำรูปส้มต่างๆ วางไว้ แล้วให้เด็กๆ นำส้มไปวางตามรูปภาพนั้น หรือครูนำส้มมาวางสลับกัน เช่น ส้มเขียวหวาม ส้มเช้งส้มเขียวหวาน
- อาจารย์ให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนนำเสนอเนื้อหาในเรื่องที่จะสอนว่าในวันของตัวเอง
กลุ่มที่ 1 เรื่องส้ม
ข้อเสนอแนะของอาจารย์
- ทำไมต้องให้เด็กนับ เพื่อให้เด็กรู้จักการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง
- การให้เด็กนับไม่ควรวางไว้ในตะกร้า ควรวางไว้ให้เด็กเห็นจำนวน
- ขณะที่นับควรพูดให้เด็กเข้าใจ โดยการใช้ภาษา เช่น ส้มหนึ่งลูก เพิ่มอีกหนึ่งลูก
เป็นสองลูก ส้มสองลูก เพิ่มอีกหนึ่งลูกเป็นสามลูก
- และจะสอนเซตได้อย่างไร เช่น ส้มทั้งหมดมีเท่าไร ทำให้เด็กได้รู้เรื่องเศษส่วนในขณะที่สอนครูควรมีคำถามในระหว่างการสอน เช่น เด็กๆ อยากทราบหรือไหมว่าส้มที่ไม่ใช่ส้มเขียวหวานมีส้มอะไรบ้าง ครูก็จะเป็นคนบอกกับเด็กว่ามีส้มอะไรบ้าง และควรมีการทายปัญหา
- การทำตามแบบ เช่น ครูอาจนำรูปส้มต่างๆ วางไว้ แล้วให้เด็กๆ นำส้มไปวางตามรูปภาพนั้น หรือครูนำส้มมาวางสลับกัน เช่น ส้มเขียวหวาม ส้มเช้งส้มเขียวหวาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)